บางคน ได้ร่วมแสนบาท อย่าทิ้งเงินก้อนโต หลายคนยังไม่รู้เงื่อนไขรับเงินคืนจากประกันสังคม

บางคนได้ร่วม แ ส น บาท อย่าทิ้งเงิ นก้อนโต หลายคนยังไม่รู้

เงื่อนไขรับ เ งิ น คืน จ าก ประกันสังคม

บางคนได้ร่วม แ ส น บาท อย่าทิ้งเงิ นก้อนโต หลายคนยังไม่รู้

วิธีการรับ เ งิ น คืน จ าก ปร ะ กันสังคม

เ มื่ อ เราเข้าทำงานเป็นลูกจ้างในสถานปร ะ กอบการ

เรามีหน้ าที่ต้องจ่ายเงินสมทบป ร ะกันสังคมในทุกๆ เดือน

เพื่อรับสิ ทธ์ด้านการรักษ าพย าบาล ว่างงาน คล อ ด บุ ต ร

เกษียณ สงเค ร าะห์ บุ ต ร ทุ พ พ ลภาพ

และเสี ยชีวิต ในอัตราร้อยละ 5 ของรายได้

แต่ไม่เกินรายได้เฉลี่ ย 15,000 บาท ซึ่งก็คือเรทสูง  สุ   ด   อยู่ที่เดือนละ 750 บาท

ในส่วนของลูกจ้าง และนายจ้างเองก็มีหน้าที่นำส่งเงิ นสมทบจำนวนเท่าๆ

กันกับเ งินสมทบในส่วนของลูกจ้างเช่นกัน

แต่ทั้งนี้หลายคนไม่รู้ว่าน อ กเหนือจากสวัสดิการปร ะ กันสังคมต่างๆ

ที่ได้รับในร ะ หว่างการเป็นผู้ป ร ะกันตนแล้ว ยังมีเงินส่วนหนึ่งที่เรา

 

ส  า  ม   า   ร   ถ  ขอรับเงินคืนจากป ร ะกันสังคมได้ด้วย ปร ะ กันสังคม

จะ จ่ า ยคืนยังไง จ่ายในกรณีไหนบ้าง

หลายๆคนมัก บ่ น ว่า จะส่งไปทำไม ปร ะ กันสังคมเนี่ย ส่งไปก็ไม่ได้ใช้..!!

ได้ใช้แน่นอนค่ะ เงินที่เราส่งไป ไม่ใช่ส่งทิ้งไปเ   ป   ล่   าๆ เค้าจะคืนให้เรา

เมื่อถึงเวลา และแถมด อ ก เบี้ยให้อีกตะหาก แล้วจะได้คืนเมื่อไรล่ะ…? ไป ดู กั น เ ล ยค่ะ

ร ะ บบปร ะ กันสังคม เป็นสิ่งที่ต่างปร ะ เทศมีมานานแล้วแต่เมืองเราเพิ่งเริ่มจะมี

โดยปร ะ กันสังคมเป็นร ะ บบที่บังคับให้ทุกคนออมเงินส่วนหนึ่ง 5เปอร์เซนต์ของเงินเดือน

ข้อดีของปร ะ กันสังคม คือลูกจ้างอย่างเรา จะจ่ายเงินปร ะ กันนี้ เป็นเงินสมทบ

เพียง 1 ใน 3 ส่วนเท่านั้น เพราะผู้ที่มีหน้าที่

ต้องจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนปร ะ กันสังคม ปร ะ กอบด้วย 3 ฝ่าย คือ

1 รั ฐบาล

2 นายจ้าง

3 ลูกจ้าง

ดังนั้นลูกจ้างจึง จ่ายเงินเข้ากองทุนเพียง 5 เปอร์เซนต์ ของค่าจ้าง

และรั ฐบาลสมทบอีกส่วนหนึ่ง ซึ่งทำให้เราได้รับ

ผลปร ะ โยชน์มากขึ้น คุ้มค่าเกินกว่า   มู    ล  ค่   าเงินที่เราลงไป

ในแต่ละเดือนของปร ะ กันสังคม แบ่งเงิน ไปทำอะไร อย่างไหนบ้าง…?

สำหรับเงิน 750 บาท ในแต่ละเดือนของปร ะ กันสังคม จะถูกแบ่งเป็น

1 225 บาท สำหรับดูแลเรื่องเ จ็ บป่ วย ทุพ พ ลภาพ คล อ ด บุตร

และเ   สี   ย   ชีวิต ถ้าไม่ใช้สิทธิ เงินส่วนนี้ก็จะหา ยไป ไม่ได้รับคืน

2 75 บาท สำหรับใช้ปร ะ กันการว่างงาน ถ้าว่างงานเมื่อไหร่

สา  ม   า  ร  ถเ   อ    าเงินส่วนนี้มาใช้ในร ะ หว่างตกงานหรือรอหางานใหม่

แต่ถ้าไม่ว่างงานเลย เงินส่วนนี้ก็จะหา ยไป ไม่ได้รับคืน

3 450 บาท สำหรับเก็บเป็นเงินออม จะได้รับคืนเมื่ออายุครบ 55 ปี

โดยเงื่อนไข การได้เงินก้อนสุดท้าย เงินออม เมื่อครบ 55 ปี คืน คือ..?

1  จ่ายปร ะ กันสังคมไม่ครบ 1 ปี ได้คืนส่วนที่จ่ายเป็นเงินก้อน

เช่นบำเหน็จชราภาพ  จ่ายเดือนละ 750 บาทมาโดยตล อ ด 10 เดือน  750 บาท

จะถูกหักเป็นเงินออม 450 บาท เมื่ออายุครบ 55 ปี

จะได้คืน 450 บาท คูณ 10 เดือน เท่ากับ 4,500 บาท

2 จ่ายครบ 1 ปี แต่ ไม่ถึง 15ปี จะได้เป็นเงินก้อนเรี ย กว่า

บำเหน็จเช่นกัน แต่จะมากกว่า ข้อ 3 จุด1 คือ

ได้ส่วนที่นายจ้างสมทบไว้ด้วย

เช่น จ่าย 750 บาท ตล อ ด 7 ปี  84 เดือน ที่จะได้รับคืนเมื่ออายุครบ 55 ปี

คือ 450 บาท ส่วนที่ตนเองจ่าย บวกกับ 450 บาท ส่วนที่นายจ้างจ่าย

นำมาคูณ 84 เดือน เท่ากับ 75 600 บาท

3 จ่ายตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป จะได้รับเป็นเงินรายเดือน

เรียกว่า บำนาญ หรือชราภาพ โดยคำนวณ 2 กรณี คือ

กรณีจ่ายครบ 15 ปีพอดี

จะได้รับรายเดือน คือ 20 เปอร์เซนต์ ของเฉลี่ยเงินเดือน 60 เดือน

สุดท้าย เช่น 60 เดือนสุดท้าย เฉลี่ยแล้วเท่ากับ 15000 บาท 

จะได้รับ 20เปอร์เซนต์ คือ เดือนละ 3,000 บาท ไปจนเ  สี   ย  ชีวิต

กรณีสมทบมากกว่า 15 ปี

จะได้รับโบนัสเพิ่ม 1 จุด5 เปอร์เซนต์ ของเงินเดือน 60 เดือนสุดท้าย

หากครบปี เช่น จ่ายครบ 20 ปี รายเดือนที่จะได้รับ

คือ 20%ของเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือน บวก 1 จุด5 เปอร์เซนต์

ของเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือน คูณ 5 ปี จ่าย 20 ปี เกินจากที่กำหนดขั้นต่ำมา 5 ปี

เฉลี่ยเงินเดือน 60 เดือนสุดท้าย เท่ากับ 15000 บาท

จะได้รายเดือน คือ 20เปอร์เซนต์ คูณ 15000 บาท เท่ากับ 3000 บาท

บวก 1 จุด5เปอร์เซนต์  คูณ 15000 บาท คูณ 5 ปี เท่ากับ 3375 บาท

รวมเป็น 6375 บาท ต่อเดือนไปจนเ   สี   ย  ชี  วิ  ต

กรณีที่ได้รับเงินบำนาญ ช ร า ภาพแล้ว แต่ยังไม่ครบ 5 ปีเลย

แล้วเ   สี   ย   ชีวิตไปก่อนล่ะ ถ้าเป็นเช่นนี้ จะได้รับบำเหน็จ 10 เท่า

ของเดือนสุดท้าย ของ เงินบำนาญ ที่ได้รับเช่น

รับเงินรายเดือน เดื   อ   น   ล่   าสุด 6375 บาท ต   า ยปุ๊บ รับ 63,750 บาท

ทางเราหวังว่าจะเป็นปร ะ โยชน์กับผู้ที่สนใจ

และไม่อย ากโดน เ   สี ยเปรียบกันนะคะ

ขอบคุณแหล่งที่มา deesudjai